วิสัยทัศน์
“โรงเรียนบ้านแหลมทอง ส่งเสริมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในการพัฒนาคุณธรรม น้อมนำ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และบริหารงานแบบมีส่วนร่วม”
ปรัชญาโรงเรียน
ปญฺญา นรานํ รตฺ นํ
"ปัญญาเปรียบเสมือนเครื่องประดับแห่งตน"
พันธกิจ
1. ส่งเสริมการใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
2. สร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม ให้นักเรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
3. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4. ส่งเสริมบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สวยงามน่าอยู่ จัดแหล่งเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย และส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ทั้งจากภายในและภายนอก
5. ส่งเสริมบริหารจัดการโดยยึดหลักบริหารแบบมีส่วนร่วม
รณรงค์ชุมชนร่วมพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียน
2. สร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม ให้นักเรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
3. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4. ส่งเสริมบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สวยงามน่าอยู่ จัดแหล่งเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย และส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ ทั้งจากภายในและภายนอก
5. ส่งเสริมบริหารจัดการโดยยึดหลักบริหารแบบมีส่วนร่วม
อัตลักษณ์
ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นไทยทรงดำ
เอกลักษณ์
การแต่งกายไทยทรงดำ
จริยธรรม
พัฒนาและส่งเสริมความสามารถของนักเรียนในการแสดงออกรณรงค์ชุมชนร่วมพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียน
เป้าหมาย
1. นักเรียนทุกคนได้รับการดูแลจากโรงเรียน มีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง
2. นักเรียนมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนมุ่งมั่นพัฒนาตนเอง และพึ่งตนเองได้
3. นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้ พร้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
4. โรงเรียนมีสถานที่และมีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม ร่มร่วม มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งภายในภายนอก สำหรับศึกษาค้นคว้าของนักเรียน
5. โรงเรียนมีการบริหารแบบมีส่วนร่วมและเป็นที่ยอมรับของชุมชน
2. นักเรียนมีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนมุ่งมั่นพัฒนาตนเอง และพึ่งตนเองได้
3. นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้ พร้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
4. โรงเรียนมีสถานที่และมีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม ร่มร่วม มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งภายในภายนอก สำหรับศึกษาค้นคว้าของนักเรียน
5. โรงเรียนมีการบริหารแบบมีส่วนร่วมและเป็นที่ยอมรับของชุมชน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น